ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการกำหนดรูปแบบการแสดงรูปภาพใน ImageView โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.widget.ImageView;
  • import android.widget.ImageView.ScaleType;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • ImageView image = ( ImageView ) this.findViewById ( R.id.image );
  •  
  • image.setImageResource ( R.drawable.sunset );
  •  
  • image.setScaleType ( ScaleType.FIT_XY );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง ImageView image = ( ImageView ) this.findViewById ( R.id.image ); ในบรรทัดที่ 17 เป็นการสร้าง Object ImageView โดยการไปค้นหามาจาก XML Layout และคำสั่ง image.setScaleType ( ScaleType.FIT_XY ); ในบรรทัดที่ 21 เป็นการกำหนดรูปแบบการแสดงรูปภาพใน ImageView

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <ImageView
  • android:id="@+id/image"
  • android:layout_width="wrap_content"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <ImageView> มี id คือ image (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการกำหนดรูปแบบการแสดงรูปภาพใน ImageView จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการกำหนดรูปแบบการแสดงรูปภาพใน ImageView
ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการแสดงรูปภาพของ ImageView โดยนำรูปภาพจาก SD Card โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.net.Uri;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.widget.ImageView;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • Uri imageURI = Uri.parse ( "/sdcard/sunset.jpg" );
  •  
  •  
  • ImageView image = ( ImageView ) this.findViewById ( R.id.image );
  •  
  • image.setImageURI ( imageURI );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง Uri imageURI = Uri.parse ( "/sdcard/sunset.jpg" ); ในบรรทัดที่ 17 เป็นการสร้าง uri ของรูปภาพที่อยู่ใน SD Card และคำสั่ง image.setImageURI ( imageURI ); ในบรรทัดที่ 22 เป็นการกำหนดค่า uri ของรูปภาพให้กับ ImageView

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <ImageView
  • android:id="@+id/image"
  • android:layout_width="wrap_content"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <ImageView> มี id คือ image (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการแสดงรูปภาพของ ImageView โดยนำรูปภาพจาก SD Card จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการแสดงรูปภาพของ ImageView โดยนำรูปภาพจาก SD Card
ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการแสดงรูปภาพของ ImageView โดยการระบุชื่อรูปภาพใน Resource Folder โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.content.res.Resources;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.widget.ImageView;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • Resources resources = this.getResources ( );
  •  
  • int resourceID = resources.getIdentifier ( "sunset", "drawable", "nutt.me.activity" );
  •  
  •  
  • ImageView image = ( ImageView ) this.findViewById ( R.id.image );
  •  
  • image.setImageResource ( resourceID );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง Resources resources = this.getResources ( ); ในบรรทัดที่ 17 เป็นการคืนค่า Object Resources และคำสั่ง int resourceID = resources.getIdentifier ( "sunset", "drawable", "nutt.me.activity" ); ในบรรทัดที่ 19 เป็นการคืนค่า resource id ของ resource ที่ต้องการ ซึ่งมีการส่ง parameter 3 ตัว ได้แก่ ชื่อไฟล์ของ Resource, ชื่อโฟลเดอร์ของ Resource, และชื่อ Pakcage ตามลำดับ

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <ImageView
  • android:id="@+id/image"
  • android:layout_width="wrap_content"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <ImageView> มี id คือ image (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการแสดงรูปภาพของ ImageView โดยการระบุชื่อรูปภาพใน Resource Folder จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการแสดงรูปภาพของ ImageView โดยการระบุชื่อรูปภาพใน Resource Folder
ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างเบื้องต้นการใช้งาน Class ImageView โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.widget.ImageView;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • ImageView image = ( ImageView ) this.findViewById ( R.id.image );
  •  
  • image.setImageResource ( R.drawable.sunset );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง ImageView image = ( ImageView ) this.findViewById ( R.id.image ); ในบรรทัดที่ 16 เป็นการสร้าง Object ImageView โดยการไปค้นหามาจาก XML Layout และคำสั่ง image.setImageResource ( R.drawable.sunset ); ในบรรทัดที่ 18 เป็นการกำหนดรูปภาพให้กับ ImageView โดยเป็นการอ้างถึงไฟล์ sunset.jpg ที่อยู่ใน Resource Folder ชื่อ "res/drawable"

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <ImageView
  • android:id="@+id/image"
  • android:layout_width="wrap_content"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <ImageView> มี id คือ image (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างเบื้องต้นการใช้งาน Class ImageView จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างเบื้องต้นการใช้งาน Class ImageView
ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการจัดตำแหน่งข้อความใน TextView โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.view.Gravity;
  • import android.widget.TextView;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • TextView label = ( TextView ) this.findViewById ( R.id.label );
  •  
  • label.setGravity ( Gravity.RIGHT );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง TextView label = ( TextView ) this.findViewById ( R.id.label ); ในบรรทัดที่ 17 เป็นการสร้าง Object TextView โดยการไปค้นหามาจาก XML Layout และคำสั่ง label.setGravity ( Gravity.RIGHT ); ในบรรทัดที่ 19 เป็นการจัดตำแหน่งข้อความใน TextView

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <TextView
  • android:id="@+id/label"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true"
  • android:text="Hello World" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <TextView> มี id คือ label (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการจัดตำแหน่งข้อความใน TextView จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการจัดตำแหน่งข้อความใน TextView
ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการกำหนดขนาดข้อความใน TextView โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.widget.TextView;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • TextView label = ( TextView ) this.findViewById ( R.id.label );
  •  
  • label.setTextSize ( 24 );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง TextView label = ( TextView ) this.findViewById ( R.id.label ); ในบรรทัดที่ 16 เป็นการสร้าง Object TextView โดยการไปค้นหามาจาก XML Layout และคำสั่ง label.setTextSize ( 24 ); ในบรรทัดที่ 18 เป็นการกำหนดขนาดข้อความใน TextView

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <TextView
  • android:id="@+id/label"
  • android:layout_width="wrap_content"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true"
  • android:text="Hello World" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <TextView> มี id คือ label (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการกำหนดขนาดข้อความใน TextView จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการกำหนดขนาดข้อความใน TextView
ในบทความนี้ จะแสดงให้เห็นถึงตัวอย่างการกำหนดสีข้อความใน TextView โดยจะแสดงให้เห็นถึงการเขียนคำสั่งภายใน Class Activity, การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout, และการประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ดังนี้

การเขียนคำสั่งภายใน Class Activity
  • package nutt.me.activity;
  •  
  • import android.app.Activity;
  • import android.graphics.Color;
  • import android.os.Bundle;
  • import android.widget.TextView;
  •  
  • public class MainActivity extends Activity
  • {
  • public void onCreate ( Bundle savedInstanceState )
  • {
  • super.onCreate ( savedInstanceState );
  •  
  • this.setContentView ( R.layout.activity_main );
  •  
  •  
  • TextView label = ( TextView ) this.findViewById ( R.id.label );
  •  
  • label.setTextColor ( Color.GREEN );
  • }
  • }
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า คำสั่ง TextView label = ( TextView ) this.findViewById ( R.id.label ); ในบรรทัดที่ 17 เป็นการสร้าง Object TextView โดยการไปค้นหามาจาก XML Layout และคำสั่ง label.setTextColor ( Color.GREEN ); ในบรรทัดที่ 19 เป็นการกำหนดสีข้อความใน TextView

การเขียนคำสั่งภายในไฟล์ XML Layout
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <RelativeLayout xmlns:android="http://schemas.android.com/apk/res/android"
  • android:layout_width="fill_parent"
  • android:layout_height="fill_parent">
  •  
  • <TextView
  • android:id="@+id/label"
  • android:layout_width="wrap_content"
  • android:layout_height="wrap_content"
  • android:layout_centerHorizontal="true"
  • android:layout_centerVertical="true"
  • android:text="Hello World" />
  •  
  • </RelativeLayout>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า element <TextView> มี id คือ label (ประกาศไว้ในบรรทัดที่ 7) ซึ่งถูกใช้อ้างอิงใน Class Activity ข้างต้น

การประกาศ Activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml
  • <?xml version="1.0" encoding="utf-8"?>
  • <manifest ... >
  • <application ... >
  • <activity android:name="nutt.me.activity.MainActivity" ... >
  • <intent-filter>
  • <action android:name="android.intent.action.MAIN" />
  • <category android:name="android.intent.category.LAUNCHER" />
  • </intent-filter>
  • </activity>
  • </application>
  • </manifest>
จากคำสั่งข้างต้น สามารถอธิบายได้ว่า มีการประกาศ Activity ชื่อ MainActivity ที่อยู่ใน Package nutt.me.activity ไว้ภายในไฟล์ AndroidManifest.xml ในบรรทัดที่ 4

หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการกำหนดสีข้อความใน TextView จากการเขียนคำสั่งข้างต้น
หน้าจอแสดงผลของ ตัวอย่างการกำหนดสีข้อความใน TextView
Copyright © 2012 DroidDevp.